หน้า: 1 2 3 4 5 6 7 [8] 9 10 11 12 13 14 15 ... 26
 
ผู้เขียน หัวข้อ: แผ่เมตตา  (อ่าน 84485 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 ขาจร กำลังดูหัวข้อนี้
คำนี้นี่ แถวบ้านผมยังพูดเป็นปกติอยู่เลยนะครับ ที่นิวยอร์คนะ หมีโหด~

 กร๊าก กร๊าก กร๊าก


อ่านจู๋นี้เหนื่อยมากค่ะ แต่สนุกดี
คราวหน้าจะไม่ดองไว้อีกแล้ว เก็บดาวทีนานมาก

เป็นถ้อยคำที่ทำให้รู้สึกคุ้มค่ากับที่ลงทุน ก็ตรงนี้ล่ะ
เห็นแล้วว่าอ่านตั้งแต่นาน

 อืมมมมห์
 * * * * * * *


ช่วงนี้อากาสเริ่มเปลี่ยน(มาสองสามวันแล้ว)
ถนอมสุขภาพกันนะครับ...
บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพยาปัชฌา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2011, 12:15 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพยาปัชฌา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2011, 12:15 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
ในสายตาที่สงบนิ่ง
แฝงไว้ด้วยซุ่มเสียงแห่งถ้อยคำ
และความรู้สึกดีๆ
เพื่อเรา
เพื่อท่าน
เพื่อชีวิต
เพื่อสังคม
Peace in the World


 อืมมมมห์
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 24 พ.ย. 2011, 17:34 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
ขอย้อนกลับไปถามเรื่องการนับถือศาสนาสักหน่อย

หลวงพี่ว่า มันจำเป็นไหมครับ
ที่คนเราต้องนับถือศาสนาใดศาสนาหนึ่ง
อย่างในทางปรัชญาเขาอาจจะมองว่า
การนับถือศาสนาก็เหมือนกับชุดความคิด
ที่เอาไว้ตอบคำถามในเรื่องที่เราไม่สามารถตอบได้ในชีวิต

แต่จะว่าไป ผมก็ว่าจุดประสงค์ของการนับถือศาสนา
มันก็อาจจะเปลี่ยนไปตามกาลเวลาเหมือนกัน
อย่างสมัยที่พระพุทธเจ้ายังคงมีชีวิตอยู่
คนในยุคนั้นส่วนใหญ่ก็มุ่งแสวงหาสัจธรรม
เสาะหาวิชาความรู้ ครูบาอาจารย์
มีการบำเพ็ญเพียรจนได้ฌานสมาบัติ
พอได้ฟังเทศนาจากพระพุทธเจ้าก็บรรลุโสดาบันอรหันต์กันตรงนั้น

แต่สมัยนี้ผมว่า คนส่วนใหญ่ไม่ได้มุ่งแสวงหาสัจธรรมตรงนี้แล้ว
จุดมุ่งหมายในการนับถือศาสนามันก็ผิดเพี้ยนไปด้วยหรือเปล่าครับ
และความจำเป็นในการนับถือศาสนา มันก็อาจจะน้อยลงด้วยหรือเปล่า

แต่สำหรับคนที่ไม่นับถือศาสนาใดนั้น
ผมเคยอ่านเจอในหนังสือชุดสถาบันสถาปณา
ของไอแซค อาซิมอฟบอกไว้ว่า

"คนที่ไม่นับถือศาสนาใดๆ นั้น
คนพวกนี้เป็นพวก มูลฐานนิยม(Fundamentalism)
แต่เนื้อแท้คือพวกเขาไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับยุคอะตอมได้
(ตอนนี้เป็นยุคที่กำลังจะเปลี่ยนผ่านยุคอะตอม)
และโดยส่วนใหญ่พวกเขาแสวงหาชีวิตที่เรียบง่าย
ซึ่งจริงๆ มันก็ไม่ได้ง่ายอย่างที่เขาคิดหรอก"

 ไหว้

บันทึกการเข้า
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพยาปัชฌา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2011, 12:15 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพยาปัชฌา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2011, 12:15 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพยาปัชฌา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2011, 12:15 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
แต่สำหรับคนที่ไม่นับถือศาสนาใดนั้น
ผมเคยอ่านเจอในหนังสือชุดสถาบันสถาปณา
ของไอแซค อาซิมอฟบอกไว้ว่า

"คนที่ไม่นับถือศาสนาใดๆ นั้น
คนพวกนี้เป็นพวก มูลฐานนิยม(Fundamentalism)
แต่เนื้อแท้คือพวกเขาไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับยุคอะตอมได้
(ตอนนี้เป็นยุคที่กำลังจะเปลี่ยนผ่านยุคอะตอม)
และโดยส่วนใหญ่พวกเขาแสวงหาชีวิตที่เรียบง่าย
ซึ่งจริงๆ มันก็ไม่ได้ง่ายอย่างที่เขาคิดหรอก"

 ไหว้



เล่มไหนครับเนี่ย ใครพูดกับใคร เดาไม่ออกเลย
นึกถึงยุคแรกๆของสถาบัน ยุคซาลวอร์ ฮาร์ดินที่เอาเทคโนโลยีไปแปลงเป็นศาสนา
เป็นความศักดิ์สิทธิ์ เพื่อใช้ครอบงำอาณาจักรทั้ง 4 แต่ก็ไม่ได้มีอะไรเกี่ยวกับ
การมีศาสนาหรือไม่มี เป็นเรื่องการใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือในการปกครองผ่านอำนาจความศักดิ์สิทธิ์

จริงๆที่ไม่เข้าใจกว่าคือว่า คนไม่นับถือศาสนานี่มันมูลฐานนิยมได้ยังไง
คือจะเอามูลฐานอะไรมานิยมได้ ในเมื่อไม่มีมูลฐาน หรือแปลง่ายๆว่า"หลักการดั้งเดิม"ใดๆรองรับ
โดยเฉพาะลักษณะสำคัญประการแรกๆของ Fundamentalism ของทุกศาสนาคือ
การอ้างอิงถึงขนบธรรมเนียมดั้งเดิม, คำสอนดั้งเดิม, ความจริงสูงสุดที่ไม่อาจโต้แย้ง
นึกไม่ออกว่าคนไม่มีศาสนาจะหาของพวกนี้มาจากไหน

จริงๆนึกไปถึงว่า คนส่วนมากเข้าใจกันทั่วไปอยู่แล้วว่า
Fundamentalism คือนักเคลื่อนไหวทางศาสนา(ในทุกศาสนา ตั้งแต่ Christian Fundamentalism, Islamic Fundamentalism)
เค้าก็เลยชี้ให้เห็นว่า จริงๆแล้วคนไม่มีศาสนาก็เป็น Fundamentalism ในอีกความหมายนึงที่ลึกยิ่งกว่า
แต่ก็นึกไม่ออกอยู่ดีว่าจะเอาความหมายไหนของมันมาอธิบายคนไม่มีศาสนาได้


บันทึกการเข้า

I ROCK , THEREFORE I AM
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพยาปัชฌา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2011, 12:15 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพยาปัชฌา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2011, 12:16 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
ครับ ส่วนมากกลุ่มแนวคิดมูลฐานนิยมก็เกิดกับศาสนาในโลกตะวันตก
แต่ก็เช่นเดียวกัน แม้ศาสนาพุทธจะตีความไปทางมูลฐานนิยมยากมาก
(เพราะขัดกับหลักทางสายกลางเห็นๆ) แต่ก็มีคนตีความไปทางนั้นจนได้ล่ะครับ
จะเรียกว่าเป็นธรรมดาของมนุษย์ก็คงได้ แต่ก็เป็นในลักษณะกลุ่มคนเล็กๆ
หรือปัจเจกบุคคล หรือหนังสือบางเล่ม ไม่ได้เป็นพลังทางสังคมมากมายอะไรเหมือน
ศาสนาในโลกตะวันตก หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประลองพลังบนเวทีระดับโลก
มูลฐานนิยมอิสลามก็มีพลังและบทบาทสูงมาก

ส่วนความหมายของคำที่พี่ณตยกมา อันนี้ผมยังไม่อยากตีความครับ
เพราะเป็นคำพูดในนิยายวิทยาศาสตร์เรื่องหนึ่ง ไม่รู้ว่าตัวละครไหนพูด
และพูดในบริบทไหน ที่สำคัญ เราไม่สามารถนับได้ว่าเป็นการนำเสนอ
ระบบคำอธิบายทางศาสนาต่อสังคมโดยตัวอาซิมอฟได้นั่นเอง

อาซิมอฟนี่เป็นที่แน่นอนว่าไม่นับถือศาสนาเป็นพิเศษ
ไม่ใช่ไม่นับถือสิ เรียกว่าไม่เคร่งครัดในความเชื่อเชิงศาสนา
เพราะว่าเป็นบิดานิยายวิทยาศาสตร์ของโลก ก็คงต้องมาทางนี้ล่ะนะครับ กร๊าก
ส่วนบิดานิยายวิทยาศาสตร์โลกอีกคน(แชร์ตำแหน่งกัน)
อาเธอร์ ซี คล้าก นั้นก็เป็นที่รู้จักกันดีเรื่องความเข้าใจในพุทธศาสนาของแก
ในระดับที่ย้ายมาใช้ชีวิตอยู่ศรีลังกาและเปลี่ยนสัญชาติเป็นคนศรีลังกา

ทีแรกจะใช้คำว่า"ความศรัทธาในพุทธศาสนา" แต่พอนึกไปนึกมา
คนระดับอาร์เธอร์ ซี คล้ากที่มีระบบความคิดเป็นวิทยาศาสตร์และระบบเหตุผลสูง
เป็นที่ยอมรับนับถือทั้งโลก การที่เค้าจะเปลี่ยนมานับถือศาสนาอะไร
ไม่น่าจะอาศัยความศรัทธาเป็นหลัก หรือจริงๆใช้คำว่าศรัทธาบนพื้นฐานของเหตุผลก็อาจจะได้
นี่ไง เล่นคำจนงง กร๊าก
บันทึกการเข้า

I ROCK , THEREFORE I AM
การจะอ่านกระทู้นี้ต้องรวบรวมสมาธิอย่างแรงกล้า

พยายามไล่อ่านทั้ง8หน้า ยังอ่านไม่จบซะที
เพราะรู้สึกว่าต้องคิดตามแทบทุกคำพูด


บางอย่างอ่านแล้วรู้สึกว่า หลวงพี่ "เฉโก" ล่ะค่ะ
นั่นคือความรู้สึกนึกคิดที่เฉโกเช่นกัน

ไว้มีโอกาสได้อ่าน คิด พิจารณา ดีๆ จะเรียนถามหลวงพี่บ้าง


นมัสการค่ะ
บันทึกการเข้า
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

อะเวรา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

อัพยาปัชฌา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

อะนีฆา
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ย. 2011, 12:16 น. โดย Alsmile » บันทึกการเข้า

sometimes you need to let things go.
"เฉโก" ตามนิยามของพระอาจารย์พุทธทาส หมายความถึง
"ปัญญาที่ปนกิเลส ปัญญาที่ขาดสติที่ถูกต้อง ปัญญาที่ยังเจือตัวกูของกู โลกถึงได้วุ่นวาย"
แปลเอาเองสั้นๆว่า "การคิดตัดสินอะไรที่ยังเจือความเป็นตัวกูของกู"
ซึ่งจะไม่ตรงกับคำแปลของพจนานุกรมที่แปลว่า "ความคิดแบบโกงๆ ฉลาดแกมโกง"


หลวงพี่อาจจะงงว่าตนเฉโกหรือ? เฉโกตรงไหน? หลายตรงเลยค่ะหลวงพี่ ลองไล่เรียงดีๆแล้วจะเห็นค่ะ

นมัสการเจ้าค่ะ  ไหว้




ส่วนนี้อธิบายเพิ่ม สำหรับคนที่ไม่ถนัดศัพท์ทางเทคนิคในทางพุทธ
ได้มาจากหนังสือ "ฉลาดได้อีก" ของ อ.วรภัทร ภู่เจริญ <-- เขียนดีมาก เนื้อหาดีมาก หากมีโอกาสแนะนำให้อ่านกันนะคะ

การที่คนเราคิดอะไร ตัดสินอะไรมักอ้างอิงมาจากประสบการณ์และองค์ความรู้ตัวเอง
แล้วก็ไปทึกทักว่าสิ่งนั้นถูกสิ่งนี้ผิด หรือตัดสินไปล่วงหน้าแล้วว่าจะต้องเป็นอย่างนั้นอย่างนี้
เรียกอีกอย่างว่าเป็นความคิดเข้าข้างตัวเอง "ยึดตัวกูของกู"

ตัวอย่างเช่น

แม่เห็นลูกวิ่งก็รีบตะโกนบอก "อย่าวิ่งลูกเดี๋ยวหกล้ม" <--- นี่คือแม่คิดไปก่อนแล้วว่าจะเกิดอะไรขึ้น ทั้งๆที่มันยังไม่เกิดเลย คิดทึกทักตัดสินไปแล้ว

แอบอ้าง
“เฉโก” เป็นความคิดตอนจิตไม่ว่าง คิดตอนจิตเกิดอาการ เป็นได้ทั้งโลภ โกรธ หลง เป็น แบบติดดี หรือ “เมาบุญ” ก็ได้ เป็นแบบไม่โกงก็ได้ เป็นความคิดที่เจืออคติ เจือลำเอียง ไม่มีความเป็นกลางของจิตในความคิดนั้นๆ เป็นความคิดแบบฟุ้งซ่าน กังวล แค้น เบื่อหน่าย เซ็ง ฯลฯ ก็ได้ ไม่ใช่ แค่ เจ้าเล่ห์ โกง แต่ อย่างเดียว

http://lanpanya.com/ariyachon/archives/42
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 3 4 5 6 7 [8] 9 10 11 12 13 14 15 ... 26
 
 
Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006-2007, Simple Machines | Thai language by ThaiSMF Valid XHTML 1.0! Valid CSS!