ancient
ฟอนต์ป้ายสถานีรถไฟจากภาพเก่าๆ รุ่นตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีเข้ม ไล่เก็บตัวอักษรจากรูปเก่าๆ จนเกือบครบ ตัวที่เหลือก็เดา ไม่ได้อ้างอิงเอกสารใดๆ
ฟอนต์ ฉัททันต์ โดยลายมือ อ.จิรพันธุ์ สัมภาวะผล แรงบันดาลใจจากฟอนต์ไทยย่อ ในเอกสารโบราณ วัดบ้านแลง จ.ระยอง บันทึกไว้ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ฟอนต์ อาณาจักร โครงสร้างเหลียมมีเชิง ขับเน้นความคมแหลมคมตรงช่วงจบเส้น และฐานเชิง ให้ความรู้สึกหนักแน่น น่าเกรงขาม ยิ่งใหญ่ และดุร้าย เหมาะสำหรับการพาดหัวสำหรับสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น Packaging, Print Ad, Etc มีให้ถึง 18 สไตล์ เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม
ฟอนต์ ติดกรอบ เป็นฟอนต์ออกแบบมาในกรอบสี่เหลี่ยม แล้วยังถูกล้อมกรอบด้วยเส้นบนล่างที่ประกอบกับวงเล็บกลายเป็น กรอบซ้อนกรอบ อีกที
ฟอนต์ฝักขาม ๑๙๕๔ ถอดแบบมาจาก จารึก ลพ.๙ โดยอ้างอิงข้อมูลจาก หนังสือ “อักษรฝักขามที่พบในศิลาจารึกภาคเหนือ” ใช้สำหรับเอกสารที่อยู่ในช่วง พ.ศ. ๑๙๕๔ – ๑๙๙๙ นะจ๊ะ
[swfobj src=”http://www.f0nt.com/wp-content/uploads/2009/06/preview65.swf” width=”450″ height=”500″]
เป็นฟอนต์ที่ทำเล่นๆในตอน แรก แล้วติดลมทำจริงจังในตอนหลัง ในไฟล์ Zip นี้จะมีฟอนต์อยู่ 2 ตัว คือ Sarun’s Gothic 1 และ Sarun’s Gothic 2 ทั้ง 2 ตัวนี้จะต่างกันที่ ตัวอักษรไทยเท่านั้น สำหรับตัวอักษรอังกฤษ ผมออกแบบมาโดยเลียนลักษณะของตัวอักษรไทย ส่วนความเหมือน และความต่าง คุณสามารถดูได้ด้วยตัวเอง